welcome for shared knowledge and experience





วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

การประกันคูณภาพการพยาบาล

รูปแบบการดำเนินงานของการประกันคุณภาพ:
การประกันคุณภาพ มีการดำเนินงานเป็นวงจร เพื่อนำไปสู่การพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาล ไม่ใช่การตรวจสอบเพื่อบ่งชี้ความผิดในการทำงาน จึงประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้
            1. ตรวจสอบค่านิยม และ ปรัชญาของโรงพยาบาล ฝ่ายการ ชุมชน บุคลากร   พยาบาล และผู้ระบบริการในเรื่องสุขภาพ
            2. กำหนดมาตรฐานทุกระดับ
             ระดับโครงสร้าง
             ระดับกระบวนการ
             ระดับผลลัพธ์
3. กำหนดวิธีการวัดให้ค่าของสิ่งที่วัดได้
      4. วิเคราะห์ และ แปรผล โดยบ่งชี้จุดเด่น  จุดด้อย ให้ชัดเจน
     5. นำจุดด้อยมาพิจารณาเพื่อแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
     6.  พิจารณาแนวทางปฏิบัติหลายแนวทาง เลือกทางปฏิบัติที่ดีที่สุด
     7. นำแนวทางที่เลือกไปปฏิบัติ
กลยุทธ์การประกันคุณภาพ
             กิจกรรม 5 ส.
             กลุ่มสร้างคุณภาพงาน    (Quality Control Circle : Q.C.C )
             การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร    (Total Quality Management : TQM)
             มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000
             การพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล   (Hospital  Accreditation: HA)
             การรับรองคุณภาพมาตรฐานระดับสากล   (Joint  Commission International: JCI)
กิจกรรม 5 ส.
             เป็นกิจกรรมหลักพื้นฐานในการทำงานที่ก่อให้เกิดคุณภาพ
             เป็นกลยุทธ์ที่สำคัญที่ก่อให้เกิดสภาพการทำงานที่ดี
             มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
             สภาพการทำงานปลอดภัย สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน
             แนวคิดกิจกรรม 5 ส.มาจากประเทศญี่ปุ่น
             หลักการพื้นฐาน คือ การปรับปรุงงาน สภาพแวดล้อมการทำงาน สถานที่ทำงานของตนเอง  ด้วยตนเอง
             เพื่อคุณภาพผลผลิต
             เพิ่มประสิทธิภาพในการบริการ
             สร้างลักษณะนิสัย
ทำไม ? ต้องทำ 5ส.
             งบประมาณลด ประหยัด เกิดประโยชน์
             เอกสาร อุปกรณ์ ขัดขวางการทำงาน
             ใช้พื้นที่เก็บวัสดุ อุปกรณ์ กระดาษ สิ่งของจำนวนมาก
             ใช้เวลาค้นหาเอกสาร อุปกรณ์ เป็นเวลานาน
             บรรยากาศการทำงานไม่ดี
             คนบางคนจิตใจหดหู่ ไม่อยากทำงาน สถานที่ไม่เหมาะสม
             ไม่รักองค์กร
5 ส. คืออะไร
             ส1 : สะสาง = SEIRI = เซริ 
             ส2 : สะดวก = SEITON = เซตง
             3 : สะอาด = SEISO = เซโซ 
             ส4 : สุขลักษณะ = SEIKETSU = เซเคทซึ 
             ส5 : สร้างนิสัย = SEISUKE = เซทซึเคะ

กลยุทธ์การปฏิบัติ 5ส.
             ประกาศนโยบาย 5 ส.
             แผนแม่บท/แผนปฏิบัติการ
             ให้ความรู้ กิจกรรม 5 ส
             โครงสร้างการบริหาร และผู้รับผิดชอบ
             แบ่งพื้นที่ และกำหนดผู้รับผิดชอบ
             แผนประชาสัมพันธ์      
การปฏิบัติการ 5 ส. ตามวงจรคุณภาพ มีรายละเอียดแยกตามขั้นตอน ดังนี้
1. DO
             กำหนดมาตรฐาน ทุกงาน
             บุคลากรได้รับการอบรม, ศึกษาดูงาน
             เจ้าหน้าที่ส่งเสริม
             รณรงค์ (ประกวดคำขวัญ ติดโปสเตอร์
             ถ่ายภาพ ก่อน/หลัง กิจกรรม
             กำหนดวัน BIG CLEANING DAY
             ผู้บริหารสูงสุด ร่วมมือให้กำลังใจ
2. CHECK
             มีคณะกรรมการ ตรวจ/ติดตาม
             ประชุม / ผู้บริหาร / กลุ่มย่อย
             ผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการตรวจพื้นที่
             ตรวจข้อบกพร่อง โดยสมาชิกกลุ่ม
             ตรวจพื้นที่ กรรมการภายนอก/ใน แบบฟอร์ม ชัดเจน บันทึก
             ประกวด ให้รางวัล ติดประกาศ ชมเชย
3. ACTION
             สถานที่ ห้องประชุม ห้องปฏิบัติงาน ห้องน้ำสะอาด / ระเบียบ / เรียบร้อย ไม่มีฝุ่น
             แฟ้มเอกสาร มีดัชนี จัดหมวด หมู่ แยกแยะ ชัดเจน
             ตู้เอกสาร มีดัชนี จัดเก็บ เหมาะสม
             รักษาเวลา เตรียมข้อมูล/ทราบล่วงหน้า
             จัดระเบียบ แผ่นป้าย ประกาศ สะอาด ไม่ล้าสมัย
             ไม่มี ฝุ่นผง ควัน คราบ
             ป้ายชื่อ ทิ้งขยะ แอร์ ไฟฟ้า โทรศัพท์ COMPUTER
             ป้ายประกาศ เปรียบเทียบผล 5 ส.
             5 ส. เป็นหน้าที่ปกติ พัฒนาต่อเนื่อง
ประโยชน์ 5 ส.
             เอกสารเป็นระเบียบ ง่ายต่อการใช้งาน
             ทำงานรวดเร็ว
             บุคลากรมีระเบียบวินัย
             ใช้วัสดุ อุปกรณ์คุ้มค่า
             สถานที่ทำงานเป็นระเบียบ
             บรรยากาศการทำงานดีขึ้น
ทำให้เกิด  SMILE   QUALITY

             คุณภาพบริการ ( SERVICE QUALITY )
             คุณภาพบริหาร ( MANAGEMENT QUALITY )
             คุณภาพภาพลักษณ์ ( IMAGE  QUALITY )
             คุณภาพการนำ ( LEADING  QUALITY )
             คุณภาพเจ้าหน้าที่ ( EMPLOYEE  QUALITY )


ไม่มีความคิดเห็น:

รายการบล็อกของฉัน